Header

ศูนย์หัวใจ

ศูนย์หัวใจ

บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มอาการทางระบบหัวใจ ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก โดยทีมอายุรแพทย์โรคหัวใจ มีเครื่องมือและเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกที่ทันสมัย

การบริการและการรักษา

  • การฉีดสีสวนหัวใจ (Coronary Angiography : CAG)
  • การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและขดลวด (Percutaneous Transluminal Coronary Angioplasty หรือ PTCA & Stent)
  • การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดถาวร : (Permanent Pacemaker : PPM)
  • การใส่อุปกรณ์เข้าในร่างกายเพื่อตรวจจับสัญญาณไฟฟ้าในหัวใจ : AICD (Automated Implantable Cardioverter-Defibrillator)                                                      
  • การตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ : (Electrophysiology Study)  
  • การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ : CRT / CRTD (Cardiac Resynchronization Therapy / Defibrillator)
  • การผ่าตัดไฟฟ้าหัวใจด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radiofrequency Ablation) 
  • การผ่าตัดหัวใจ (Open Heart Surgery) มีแพทย์ CVT
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiogram (EKG)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography)
  • ตรวจภาวะเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (ABI)
  • บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24-48 ชั่วโมง (Holter Monitor)
  • ตรวจระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการปรับระดับเตียง (Tilt Table Test)
  • Cardiac Catherization Lab
  • Electro Physiologic Study and Radiofrequency Ablation
  • Endocardial Lead Placement
  • ตรวจระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการปรับระดับเตียง (Tilt Table Test)Tilt Table Test
  • บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24-48 ชั่วโมง (24-48 Hours Holter Monitor)
  • ตรวจภาวะเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (ABI) Ankle Brachial Index
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงผ่านผนังหน้าอก - Echocardiogram (Echo)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย - Exercise Stress Test (EST)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการใช้ยา (Dobutamine stress echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงโดยการส่องกล้องผ่านหลอดอาหาร (Esophageal echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงเพื่อดูผนังหัวใจห้องบนรั่ว (Echocardiogram with saline bubble test)
  • Carotid Intima Media Thickness
  • Transthoracic Echocardiography (TTE)
  • Transesophageal Echocrdiography (TEE)

เวลาทำการ

09:00 - 17:00 น.

เบอร์ติดต่อ

056613316

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

บทความที่เกี่ยวข้อง

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Permanent Pacemaker) เป็นหัตถการทางการแพทย์เพื่อฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปในผนังหน้าอกใต้ผิวหนังเพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ช่วยแก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจที่เต้นช้าหรือการเต้นไม่สม่ำเสมอ โดยจะส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องที่ทำงานผิดปกติ เพื่อช่วยให้หัวใจเต้นเร็วพอที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Permanent Pacemaker) เป็นหัตถการทางการแพทย์เพื่อฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปในผนังหน้าอกใต้ผิวหนังเพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ช่วยแก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจที่เต้นช้าหรือการเต้นไม่สม่ำเสมอ โดยจะส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องที่ทำงานผิดปกติ เพื่อช่วยให้หัวใจเต้นเร็วพอที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG)

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG) บางทีเรียก “การฉีดสี” เป็นการสอดสายสวนผ่านหลอดเลือดแดงแล้วฉีดสารทึบรังสีเพื่อตรวจวินิจฉัยการอุดตันและการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจ หากพบความผิดปกติสามารถทำการรักษาต่อด้วยการทำบอลลูนและใส่ขดลวด

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG)

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG) บางทีเรียก “การฉีดสี” เป็นการสอดสายสวนผ่านหลอดเลือดแดงแล้วฉีดสารทึบรังสีเพื่อตรวจวินิจฉัยการอุดตันและการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจ หากพบความผิดปกติสามารถทำการรักษาต่อด้วยการทำบอลลูนและใส่ขดลวด

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เทคโนโลยีการรักษาโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน เกิดจาก การที่มีเนื้อเยื่อไขมันผสมกับพังผืดจับตัวกันเป็นแผ่นนูนหรือ ตะกรันตามผนังชั้นในของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทำให้รูตรงกลางหรือเส้นหรือเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลง ผลก็คือกล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่เลี้ยงโดยหลอดเลือดนั้นได้รับเลือดไม่พอเกิด อาการแน่น เจ็บหน้าอก เหนื่อย หอบ

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เทคโนโลยีการรักษาโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน เกิดจาก การที่มีเนื้อเยื่อไขมันผสมกับพังผืดจับตัวกันเป็นแผ่นนูนหรือ ตะกรันตามผนังชั้นในของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทำให้รูตรงกลางหรือเส้นหรือเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลง ผลก็คือกล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่เลี้ยงโดยหลอดเลือดนั้นได้รับเลือดไม่พอเกิด อาการแน่น เจ็บหน้าอก เหนื่อย หอบ

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม